บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2016

เลดี๋ จัสติส

รูปภาพ
รูปปั้นของผู้หญิงที่มีผ้าผูกตา มือข้างหนึ่งถือดาบ ส่วนอีกข้างถือตาชั่ง เธอเป็นที่รู้จักในชื่อเทพีแห่งความยุติธรรม หรือเลดี้ จัสติส สัญลักษณ์แห่งความยุติธรรม  วันนี้ได้ดูละครเกาหลีเรื่อง "Partner" หรือเค้าแปลชื่อแบบไทยๆ ได้ว่า "พลิกรักนักกฎหมาย" ซึ่งตามท้องเรื่องได้ให้ความหมายของสัญลักษณ์แห่งความยุติธรรมนี้ไว้อย่างน่าสนใจว่า "พระเจ้าแห่งความยุติธรรม ทรงถือดาบอยู่ในมือข้างหนึ่ง อีกข้างหนึ่งถือตาชั่ง อย่างไรก็ตามดาบและตาชั่งสะท้อนถึงความยุติธรรมและเข้มงวดของกฎหมาย กฎหมายต้องมีการความยุติธรรม แต่ว่า...ผู้ที่ถือดาบและตาชั่งนั้นไม่ใช่ผู้ชาย แต่เป็นผู้หญิง ไม่ใช่พ่อผู้สงบนิ่ง ไม่หวั่นไหวต่ออุุปสรรค์ หากแต่เป็นแม่ผู้เข้าใจลูกและฟังปัญหาของลูกอย่างตั้งใจต่างหาก สำหรับลูกที่อ่อนแอ แม่ย่อมโศรกเศร้าและรับฟังทุกเรื่อง กฎหมายก็มีหัวใจของแม่" นั้นเป็นสิ่งที่บ่งบอกเราทราบกันอย่างทั่วไป "ไม่ว่าประเทศไหน ๆ ชนชาติใด สิ่งหนึ่งที่มักถูกฝังรากของนักกฎหมายอยู่เสมอคือ ความยุติธรรมของกฎหมายไม่ได้ขึ้นอยู่ที่ตัวบทกฎหมาย หากแต่อยู่ที่ผู้ใช้กฎหมาย" ดั่งพระบรม

ผู้เสียหายในคดีอาญา

รูปภาพ
การเป็นผู้เสียหายทางอาญามี ตัวบุคคลได้ 3 กรณี  คือ 1.ตัวผู้เสียหายที่แท้จริง 2.ผู้มีอำนาจจัดการแทน (ม.4,5,6) 3.ผู้รับมอบอำนาจ (ตามหลัก ปพพ.) 1.ม.2(4)(ตัวผู้เสียหายที่แ ท้จริง)  การเกิดของผู้เสียหายพิจารณ าดังนี้ 1.มีการกระทำความผิดอาญาขึ้ น  คือเป็นการกระทำที่ครบองค์ป ระกอบของความผิดซึ้งกฎหมายบ ัญญัติเป็นความผิดและการกระ ทำนั้นเป็นความผิด แม้จะมีกฎหมายบัญญัติว่าไม่ ต้องรับโทษก็ตาม  (ตรงนี้ให้ย้อยกลับไปในเรื่ องโครงสร้างความรับผิดของบุ คคลทางอาญา)  2.การกระทำความผิดอาญานั้นก ่อให้เกิดความเสียหายซึ่งเป ็นผลโดยตรงจากผลการกระทำควา มผิด  โดยเป็นความเสียหายต่อชีวิตร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างอื่นที่มี กฎหมายอาญาให้ความคุ้มครอง 3.ตัวบุคคลนั้น ได้รับความเสียหายจากการกระ ทำความผิดอาญา ซึ่งเป็นวัตถุแห่งการกระทำต ามองค์ประกอบความผิดทางอาญา ได้ - ดูว่าฐานความนั้นกฎหมายมุ่ง คุ้มครองอะไร/  ใคร --> ดูคุณธรรมทางกฎหมายว่าคุ้มครองใคร ไม่ใช่ดูความเสียหายที่เกิด ขึ้นจริง - บุคคลธรรมดา ซึ่งตนได้ตกเป็นวัตถุแห่งอง ค์ประกอบความผิดทางอาญ
รูปภาพ
"เรื่องเล่านอกสำนวน" ตอน...การให้อันมีค่าภาระติดพัน เล่าสั้นๆ...ใจความได้ว่า นางจันทร์เป็นมารดาของนางสาวอังคารและนางสาวพุทและเป็นเจ้าของที่ดิน 2 แปลงในปี 2541 นางจะแนะนำที่ดินทั้งสองแปลงไปจดจำนองต่อธนาคารโดยที่ดินแปลงที่ 1 จำนองเพื่อประกันหนี้ของตนเอง ส่วนแปลงที่ 2 จำนองเพื่อประกันหนี้ของนางสาวพุท ครั้นปี 2542 นางสาวอังคารได้ออกเงินให้นางจันทร์ไปจดทะเบียนไถ่ถอนจำนองที่ดินแปลงที่ 1 หลังจากนั้นอีก 6 เดือนนางจันทร์ได้ยกที่ดินแปลงที่ 1 ให้แก่นางสาวอังคารและยกที่ดินแปลงที่ 2 ซึ่งยังติดจำนองให้แก่นางสาวพุทโดยทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ต่อมานางสาวอังคาร และนางสาวพุทประพฤติเนรคุณต่อนางจันทร์ นางจันทร์ต้องการฟ้องนางสาวอังคารและนางสาวพุท เพื่อถอนคืนการให้ที่ดินทั้งสองแปลง จะได้ หรือไม่????? กรณีนางสาวอังคาร การให้สิ่งที่มีค่าภาระติดพันตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 535 (2) นั้นสิ่งที่มีค่าภาระติดพันจะต้องมีอยู่ในขณะตกลงทำสัญญาให้แก่กัน นางสาวอังคารเป็นผู้ออกเงินให้นางสาวจันไปไถ่ถอนจำนองที่ดินแปลงที่ 1 ก่อนที่นางจันทร์ให้ที่ดินแปลงดังกล่าวการออกเ